เมนู

5. สมนันตรปัจจัย


6. สหชาตปัจจัย


[12] 1. เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
กุศล ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
2. เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
อกุศล ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
3. เหตุธรรมที่เป็นอัพยากตะ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นอัพยากตะ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
7. อัญญมัญญปัจจัย และ 8. นิสสยปัจจัย เหมือนกับ
สหชาตปัจจัย.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[13] 1. เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
กุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
2. เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
อกุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
3. เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
อัพยากตะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
4. เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
อกุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

5. เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
กุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
6. เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็น
อัพยากตะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ (วาระที่ 4-5-6)
7. เหตุธรรมที่เป็นอัพยากตะ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นอัพยากตะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
8. เหตุธรรมที่เป็นอัพยากตะ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นกุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
9. เหตุธรรมที่เป็นอัพยากตะ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นอกุศล ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

10. อาเสวนปัจจัย ฯลฯ


11. วิปากปัจจัย


[14] 1. เหตุธรรมที่เป็นอัพยากตะ เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นอัพยากตะ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[15] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี 7 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 5 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
5 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี 3 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี